เสื้อกันฝนต้นยางพารานี้มีขนาดต่างๆ
เพื่อให้เข้ากับขนาดของต้นยางพารา ตามอายุของต้นยางพารา มีหลักการทำงานด้วยการใช้
เสื้อกันฝน ยางคู่กับชุดล็อค และกาวทาต้นยางพารา โดยเสื้อกันฝนจะใช้คลุมหน้ากรีดและ
ถ้วยรองน้ำยาง เพื่อให้เกษตรกรสามารถกรีดยางได้ขณะฝนตก หรือหลังฝนหยุดตกทันที
ส่วนกาวทาต้นยางพาราใช้คู่กับยางและชุดล็อคจะป้องกันไม่ให้น้ำฝนไหลซึมผ่านเสื้อกันฝน
ไปทำให้หน้ายางเปียกชื้น และน้ำฝนตกลงใส่ถ้วยรองน้ำยาง ดังนั้นแม้ฝนตก
เกษตรกรก็สามารถกรีดยางได้อย่างสม่ำเสมอ
1. |
เกษตรกรสามารถกรีดยางได้อย่างสม่ำเสมอ และเพิ่มจำนวนวันกรีดได้
กว่า 50% |
2. |
การเพิ่มจำนวนวันกรีดช่วยเพิ่มผลผลิต/ต้น/ปี และเป็นการเพิ่มรายได้และผลตอบแทนแก่เกษตรกรสวนยาง |
|
ผลการทดลองจำนวน
30 ไร่ |
ไม่ใส่เสื้อกันฝน |
ใส่เสื้อกันฝน
+ ปีกหมวก |
ความแตกต่าง |
จำนวนวันกรีดเฉลี่ยต่อเดือน |
8 วัน |
20 วัน |
เพิ่ม 12 วัน |
จำนวนน้ำยางเฉลี่ยต่อเดือนต่อ
30 ไร่ |
1,176 กก. |
2,940 กก. |
เพิ่ม 1,764 กก. |
รายได้เฉลี่ยต่อเดือน
ต่อ 30 ไร่ |
82,320 บาท |
205,800 บาท |
เพิ่ม 123,480
บาท |
|
|
|
3. |
สามารถกรีดได้แม้ขณะฝนตก หรือหลังฝนหยุดตกทันที |
4. |
วันใดที่ฝน สามารถกรีดยางได้แม้ในเวลากลางวันเพราะต้นยางจะมีความชุ่มชื้นจากน้ำฝนอยู่แล้ว
ทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายกว่าการกรีดช่วงเช้ามืด |
|
เวลาเริ่มกรีด |
เวลากรีดเสร็จ |
จำนวน
ชม. ที่ใช้ในการกรีด |
จำนวน
ชม. ที่ใช้ไฟแสงสว่าง |
ความเสียหายของหน้ากรีด |
2.00 น. |
7.00 น. |
5
ชั่วโมง |
5
ชั่วโมง |
ปกติ |
5.00 น. |
8.30 น. |
3.5 ชั่วโมง |
2 ชั่วโมง |
น้อยกว่าปกติ |
|
|
|
5. |
ค่าใช้จ่ายในการติดตั้งเสื้อกันฝนต่อ 1 ต้น ไม่แพง และสามารถคืนทุนได้ภายใน
10 วัน กรีด ทำให้ไม่มีความเสี่ยงในการติดเสื้อกันฝน |
|
ผลการทดลอง |
จำนวน |
หน่วย |
จำนวนวันกรีดยางที่
เพิ่มขึ้น |
55 |
วัน |
จำนวนน้ำยางที่เพิ่มขึ้น
(0.07 กก./ ต้น/ วัน) |
3.85 |
กก. |
ราคาน้ำยางปัจจุบัน |
70 |
บาท / กก. |
รายได้เพิ่มขึ้น
ใน 55 วัน |
268.5 |
บาท / ต้น |
รายได้เพิ่มขึ้นเฉลี่ย
ต่อวัน |
4.9 |
บาท / ต้น |
รายได้เพิ่มขึ้นใน
10 วัน |
49 |
บาท / ต้น |
ราคาเสื้อกันฝน |
32-40 |
บาท / ต้น |
กำไรของเกษตรกรหลังจากคืนทุน |
232.5 |
บาท / ต้น |
กำไรของเกษตรกรต่อ
1 ไร่ |
16,725 |
บาท / ไร่ |
|
|
|
6. |
นอกจากนี้ เสื้อกันฝนสามารถช่วยป้องกันสิ่งสกปรก ตกใส่ถ้วยรองน้ำยางได้
ทำให้ช่วยรักษาคุณภาพของน้ำยางได้ทางหนึ่ง |
|
รายได้เพิ่มทั้งหมดตามจำนวนไร่ |
จำนวนเงิน |
หน่วย |
จำนวน
10 ไร่ |
167,250 |
บาท
/ ปี |
จำนวน 30 ไร่ |
501,750 |
บาท / ปี |
จำนวน 50 ไร่ |
836,250 |
บาท / ปี |
จำนวน 100 ไร่ |
1,672,500 |
บาท / ปี |
จำนวน 150 ไร่ |
2,508,750 |
บาท / ปี |
จำนวน 200 ไร่ |
3,345,000 |
บาท / ปี |
|
|
|